บัวลอยไข่หวาน ขนมบัวลอยของไทย ประวัติความเป็นมาของบัวลอย
บัวลอยไข่หวาน ขนมบัวลอยของไทย เป็นขนมไทย เป็นของหวาน ที่ทำและรับประทานกันในอาณาจักรไทย มีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรม ประจำชาติไทยคือ มีความละเอียดอ่อน ประณีตในการเลือก สรรวัตถุดิบ วิธีการทำ ที่พิถีพิถัน รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีการรับประทานที่ปราณีตบรรจงของขนมแต่ละชนิด ซึ่งยังแตกต่างกันไปตามลักษณะของขนมชนิดนั้นๆสำหรับ “เข้าหนม” นั้น
พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นจรัสพรปฏิญาณได้ทรงตั้งข้อสันนิษฐานไว้ว่า “หนม” เพี้ยนมาจาก “ข้าวหนม” เนื่องจาก “หนม” นั้นแปลว่าหวาน แต่กลับไม่ปรากฏความหมายของ”ขนม” ในพจนานุกรมไทย มีเพียงบอกไว้ว่าทางเหนือเรียกขนมว่า “เข้าหนม” แต่ถึงอย่างไรก็ไม่พบความหมายของคำว่า “หนม” ในฐานะคำท้องถิ่นภาคเหนือเมื่ออยู่โดด ๆ ในพจนานุกรมเช่นกัน เข้าหนม ก็แปลว่า ข้าวหวาน เรียกสั้นๆ
เร็วๆ ก็กลายเป็น ขนไป (คำว่า เข้าเขียนตามแบบโบราณ ในปัจจุบันเขียนว่า ข้าว)อีกข้อสันนิษฐานหนึ่งก็นับว่าน่าสนใจไม่น้อย คำว่า “ขนม” อาจมาจากคำในภาษาเขมรว่า “หนม” ที่หมายถึงอาหารที่ทำมาจากแป้ง เมื่อลองพิจารณาดูแล้วพบว่าขนมส่วนใหญ่ล้วนทำมาจากแป้งทั้งนั้น โดยมีน้ำตาลและกะทิเป็นส่วนผสม
ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า “ขนม” เพี้ยนมาจาก “ขนม” ในภาษาเขมรก็เป็นได้ ไม่ว่าขนมจะมีรากศัพท์มาจากคำใด หรือภาษาใด ขนมก็ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญ ในสังคมไทยด้วย ฐานะของขนมไทย อย่างเต็มภาคภูมิ และคนไทยเอง ก็ได้ชื่อว่าเป็นชนชาติหนึ่ง ที่ชอบกินขนมเป็นชีวิตจิตใจหลักฐานเก่าแก่ที่สุด ที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างขนมไทย กับคนไทย ก็คือวรรณคดี มรดกสุโขทัยเรื่องไตรภูมิพระร่วง วิธีทำบัวลอยสามสี
ซึ่งกล่าวถึงขนมต้มที่เป็นขนมไทยชนิดหนึ่งไว้คำว่า ขนม มีใช้มาหลายร้อยปียากจะสันนิฐานแน่นอนได้ เช่นเดียวกับไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอนว่า “ขนมไทย” เกิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยใดเป็นครั้งแรก แต่ตามประวัติศาสตร์ไทยมีหลักฐานตอนหนึ่งว่า มีการจารึกชื่อขนมในแท่งศิลาจารึก เป็นการจารึกแบบลายแทงสมัยโบราณ ขนมที่ปรากฏคือ “ไข่กบ นกปล่อย บัวลอย อ้ายตื้อ”
บัวลอยไข่หวาน ขนมบัวลอยของไทย ขนมไทยที่มีเอกลักษณ์มากๆ และอร่อยอีกด้วย
ขนมบัวลอย เป็นขนมไทยพื้นบ้าน ของชาวไทย ที่มีมาอย่างยาวนาน คนไทยทั่วทุกภูมิภาค ต่างรู้จักกันเป็นอย่างดี และในแต่ละพื้นที่ จะมีเคล็ดลับ และมีสูตร ที่แตกต่างกันออกไป เป็นขนมหวาน ที่อยู่คู่สำหรับ กับข้าวไทยมาตั้งแต่ ครั้งโบราณ โดยทั่วไปประชาชน จะทำขนมบัวลอยในงานเลี้ยง นับตั้งแต่ การทำบุญเลี้ยงพระ งานมงคล และงานพิธีการ วัตถุดิบ การทำที่กลมกลืน พิถีพิถันในเรื่องรสชาติ สีสัน ความสวยงาม กลิ่นหอม รูปลักษณะ ชวนรับประทานตลอด จนกรรมวิธีการรับประทานขนม แต่ละชนิด
ซึ่งยังแตกต่างกันไป ตามลักษณะของขนม ชนิดนั้นๆ โดยเฉพาะขนมบัวลอย สูตรของนางกวย อัตจักร์ ซึ่งเป็นชาวอีสาน และมีภูมิลำเนา เป็นคนบ้านโนนศิลา อำเภอโนนศิลาโดยกำเนิด ได้รู้จักวิธีการทำขนมบัวลอยมาเมื่อครั้งยังเป็นสาว
โดยได้เรียนรู้จากแม่ และเริ่มปรับปรุงพัฒนารูปแบบ ส่วนผสม ตลอดจนการรู้จัก ดัดแปลง หรือนำเอาวัสดุ ของธรรมชาติ ที่มีอยู่ในท้องถิ่น มาเป็นส่วนผสม เช่น ใบเตย ดอกกุหลาบ หรือดอกอัญชัน มาคั้นเอาน้ำไปผสมกับแป้ง ทำให้มีความหลากหลาย เพื่อให้ได้มีสีสัน ที่สวยงามมากยิ่งขึ้น และน่ารับประทานมากยิ่งขึ้น
จากที่เคยทำขนมบัวลอย เพื่อไว้รับประทานกันเอง ภายในครอบครัว หรือแบ่งไปทำบุญที่วัดในอดีตแล้ว ก็ได้มีการพัฒนาตามยุคตามสมัย มาเพื่อขายให้ผู้คนในหมู่บ้านหรือหมู่บ้านใกล้เคียง และนำไปขายควบคู่ กับอาหารพื้นบ้านที่ตัวเอง ทำขายอยู่เป็นประจำ ทำให้มีรายได้ จากการค้าขายเพิ่มขึ้น สูตรบัวลอยชาววัง
ซึ่งนางกวย ได้มองเห็นโอกาสที่ว่า ในปัจจุบันไม่ค่อยมีคนทำขนมบัวลอย รับประทานกัน เนื่องจากเห็นว่ามีขั้นตอน ที่ยุ่งยาก เสียเวลา และสามารถหาซื้อได้ง่าย ตามท้องตลาด จึงทำขนมบัวลอย ไว้จำหน่ายให้บุคคลภาย ในหมู่บ้านตลอดจน ผู้คนที่มาติดต่อราชการ ณ ที่ว่าการอำเภอโนนศิลา กลีบลำดวน
โดยแต่ละสูตรของแต่ละภูมิภาค ก็แตกต่างกัน บัวลอยของไทยมาปรับ ตามยุคตามสมัย ปัจจุบันนี้บัวลอยไข่หวานนั้น มีสีสันคัลเลอร์ฟูลมากขึ้น สูตรขนมบัวลอย โดยผสมแป้งข้าวเหนียว ต้องใช้เผือกนึ่งสุกบดละเอียด ใช้ฟักทองเพื่อทำบัวลอยสีเหลือง ใบเตยเพื่อทำบัวลอยสีเขียว จะใช้วิธีการปั้นแป้งเป็นลูกกลม ๆ แต่มีไส้ข้างในเป็นพืชผลที่รสชาติกรุบกรอบ เข้ากับเนื้อแป้ง น้ำเปล่า และนำไปต้มกับน้ำเดือด
บัวลอยไข่หวาน ขนมบัวลอยของไทย เคยรู้ไหมว่าที่มาของขนมบัวลอยมาจากไหน
ประวัติและที่มาของขนมไทยนั้น ในตระกูลขนมหวานนั้น ส่วนใหญ่ ว่ากันว่ามาจากตำหรับการคิดค้นของท้าวทองกีบม้า หญิงสาวผู้เป็นหัวหน้าแม่ครัว ขนมหวานในสมัยอยุธยาตอนปลาย ราชินีแห่งขนมไทย ที่ละครเรื่อง บุพเพสันนิวาส ก็นำประวัติของท้าวทองกีบม้ามาเล่าเรื่องด้วย fun88
แต่ก็มีขนมหวานอีกหลายชนิด ที่คาบเกี่ยวกับวัฒนธรรม หลายชนชาติ อย่างเช่น บัวลอย ซึ่งก็ไม่สามารถ บอกได้ว่าเป็นการคิดค้นของไทยเป็นต้นฉบับ เพราะชนชาติใกล้เคียงในแถบตะวันออก ตั้งแต่ประเทศจีน ลงมาจนถึงแหลมมลายู ก็มีขนมหวานหน้าตา แบบบัวลอยอยู่ทุกท้องถิ่น
วิธีทําแป้งบัวลอยให้เหนียวนุ่ม ขนมหวานสไตล์ไทยบัวลอยไข่หวาน จะถูกนำมาเป็นขนม ที่ใช้ในงานบุญ งานเลี้ยงพระ หรืองานเลี้ยงแขกตั้งแต่สมัยก่อน บัวลอยจะมีรสชาติอร่อย ที่แตกต่างกันไป แต่คงความเป็นขนมหวาน ที่เหมาะรับประทานจบท้ายมื้ออาหารหลักต่าง ๆ วัตถุดิบการทำที่กลมกลืน พิถีพิถันในเรื่องรสชาติ สีสัน ความสวยงาม กลิ่นหอม และยังได้รับความนิยม จนถึงปัจจุบันเลย
กระบวนการทำบัวลอยไข่หวาน ไม่ยากจนเกินไป และยังอร่อยอีกด้วย
ส่วนผสม ได้แก่ แป้งข้าวเหนียว 1 ถ้วย น้ำ 1 ส่วน 4 ของถ้วย เผือกนึ่งสุก ฟักทองนึ่งสุก น้ำใบเตยคั้นเข้มข้น น้ำกะทิ 1 ถ้วย น้ำตาลทราย 1 ถ้วย การทำนั้น ก็นำแป้งข้าวเหนียวใส่ลงในภาชนะสำหรับผสม ถ้าทำประมาณ 8-10 ถ้วย
ควรใช้แป้งประมาณ 500 กรัม ไม่ควรผสมหมดทั้ง 500 กรัม ควรเหลือแป้งไว้นิดหน่อย เผื่อเวลาผสมแป้งเหลวเกินไป จะได้เติมแป้งส่วนที่เหลือ นำแป้งนวดกับน้ำเปล่า นวดจนแป้งจับตัวเป็นก้อน แล้วแบ่งออกเป้นส่วนๆ เพื่อนำไปผสมเข้ากับสีผสมอาหาร
จากนั้นปั้นแป้งเป็นเม็ดกลมเล็กๆ พอดีคำ และก็นำไปต้ม จนแป้งสุก และลอยขึ้นมา ตักขึ้นมาใส่ชามที่มีน้ำพักไว้ และหลังจากนั้น นำหัวกะทิใส่หม้อ และเติมน้ำเปล่าลงไปนิดหน่อย บัวลอยไข่หวาน วิธีทํา
โดยอัตราส่วนประมาณ กะทิ 3 ส่วน น้ำเปล่า 1 ส่วน ตั้งไฟอ่อน เติมน้ำตาลปึกลงไป เคี่ยวด้วยไฟอ่อน ต้องมั่นคนเพราะอาจจะทำให้กะทิไหม้ได้ แล้วใส่เกลือตามลงไปเล็กน้อย ต้มจนกะทิเดือดแบบอ่อนๆ ทั่วทั้งหม้อ เมื่อกะทิเดือดทั่วทั้งหม้อจึกตอกไข่ใส่ลงไป ต้มจนไข่สุกลอย เพียงแค่นี้ ก็ถึงเวลาเสิร์ฟ ตักบัวลอยมาใส่ภาชนะ และราดด้วยน้ำกระทิหอมหวาน และตักไข่หวานตามลงไปด้วย