ขนมลอดช่อง ลอดช่องขนมไทย หนึ่งในของหวานที่ร้านอาหารจะต้องมี
ขนมลอดช่อง ลอดช่องขนมไทย แดดเมืองไทยนับวันยิ่งจะชวนให้ร่างกายร้อนวูบ แต่หลายคนก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงแดดช่วงกลางวันไปได้ ลอดช่อง จึงเหมือนเป็นตัวปลดล็อคความร้อน ปลดล็อคความกระหายจากทุกสิ่งอย่าง คนไทยแทบทุกคนมักติดใจความหอม
หวาน เย็นชื่นใจ ทานได้ไม่รู้เบื่อของลอดช่องกัน ยิ่งซื้อไปเยอะๆ แบ่งกันทานทั้งครอบครัว การทําลอดช่องสิงคโปร์ ชื่นใจกันทั้งบ้านแน่นอน. และเป็นลอดช่องที่อร่อยที่ร้านอาหารทั้งหลายควรมีเพราะไม่ว่าใครๆก็สามารถรับประทานได้และอร่อยวัยไหนก็สามารถรับปรทานได้
กินง่ายเป็นขนมหวานไทยที่อร่อยแก้ร้อนได้อีกด้วยไม่ว่าใครๆก็ต้องมาลองชิมหรือรับประทานได้รับลองเลยว่าอร่อยอย่างแน่นอนไม่ว่าจะร้านอาหารหรือร้านขนมหวานที่ไหนก็ต้องมีลอดช่องโบราณสุดแสนอร่อยและได้รับความนิยมจากคนไทยทั้งประเทศ fun88
เพราะมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว รสชาติอร่อยหอมหวาน ทานง่ายแดดเมืองไทย นับวันยิ่งจะชวน ให้ร่างกายร้อนวูบ แต่หลายคนก็ไม่สามารถ ลอดช่องแก้ว หลีกเลี่ยงแดดช่วงกลางวันไปได้ ลอดช่อง จึงเหมือนเป็นตัวปลดล็อคความร้อน ปลดล็อคความกระหายจากทุกสิ่งอย่าง
คนไทยแทบทุกคนมักติดใจความหอม หวาน เย็นชื่นใจ ทานได้ไม่รู้เบื่อของลอดช่องกัน ยิ่งซื้อไปเยอะๆ แบ่งกันทานทั้งครอบครัว ชื่นใจกันทั้งบ้านแน่นอนอร่อยสุดขั้วกันไปเลยและยังได้รับการันตีได้เลยว่าร้านอาหารหรือที่ขายอาหารที่ไหนก็ต้องมีลอดช่องขายกันทั้งนั้น
ขนมลอดช่อง ลอดช่องขนมไทย ขนมของไทยที่คิดคนโดยคนไทยและได้รับความนิยมมาอย่างยาวนาย
ลอดช่อง เป็นขนมที่คนไทยเราๆคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี หาทานง่าย และเหมาะกับการกินคลายร้อนมากๆ โดยเฉพาะในประเทศไทย ที่เรียกว่าร้อนแทบทุกวัน ซึ่งลอดช่องนั่น หลายคนน่าจะทราบดีว่า ลอดช่องสิงคโปร์ และลอดช่องไทย มีความต่างกัน
ถึงแม้ว่าจะมีชื่อว่าลอดช่องเหมือนกันก็ตาม วันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับลอดช่องทั้ง 2 ชนิดนี้ รวมไปถึงสูตรการทำที่เราได้นำมาฝาก ให้ได้ไปทำตามกันด้วยมีข้อมูลบอกว่า ที่เรียกว่าลอดช่องสิงคโปร์ ดั้งเดิมคือเป็นร้านขายลอดช่องแบบนั้นแหละ
ตัวเส้นเขียวๆ ยาวๆ น้ำกะทิใสๆ กินกับน้ำแข็งไส อยู่แถวๆ เยาวราช อยู่ใกล้กับโรงหนังสิงคโปร์ ลอดช่องเหนียวนุ่ม ได้รับความนิยมมาก คนก็เลยเรียกว่าลอดช่องโรงหนังสิงคโปร์ จนกลายมาเป็นลอดช่องสิงคโปร์ ซึ่งก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกับประเทศสิงคโปร์แต่อย่างใดแต่ว่า
มันมีสิ่งที่เรียกว่าลอดช่องไทยด้วยหนิ แบบที่ตัวจะสั้นๆ คล้ายๆ ลูกน้ำยุง สีจะเขียวแบบอี๋ๆ เลย มักกินกับแตงไทย เผือก ข้าวโพด แล้วเรารู้สึกว่าลอดช่องแบบนี้มันไม่เหมือนกับลอดช่องสิงคโปร์แบบที่มาจากลอดช่องโรงหนังสิงคโปร์นะ แสดงว่าสูตรลอดช่องสิงคโปร์นี่
ต้องไม่ใช่แบบเดียวกับลอดช่องไทย ลอดช่อง คือ ขนมพื้นบ้านที่ใช้แป้งข้าวเจ้าเป็นวัตถุดิบ เป็นที่นิยมแพร่หลายในไทยชนิดหนึ่ง มีจุดกำเนิดร่วมในทั่วทั้ง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เชื่อกันว่ามีต้นกำเนิดมาจากประเทศ อินโดนีเซีย โดยอินโดนีเซีย มาเลเซีย เรียกว่า เจ็นดล อีกทั้งแพร่หลายในพม่า เวียดนาม และสิงคโปร์
ขนมลอดช่อง ลอดช่องขนมไทย ประวัติของขนมลอดช่องในประเทศไทย
ขนมนกปล่อย หรือ ลอดช่องไทย มีบันทึกไว้ในศิลาจารึกสมัยสุโขทัยกล่าวถึงขนมสี่ถ้วยเลี้ยงคนคราวขุดสระว่า ประกอบด้วยไข่กบ เม็ดแมงลัก นกปล่อย ลอดช่อง นางลอย ข้าวตอก อ้ายตื้อ ข้าวเหนียว กินกับกะทิที่แยกมาต่างหากปัจจุบันลอดช่องนิยม ขนมหวานน้ำกะทิ
ทำเลี้ยงในงานบุญ ด้วยชื่อพ้องเสียงกับคำว่า รอด จึงเชื่อว่าจะช่วยให้รอดจากทุกอุปสรรคลอดช่องโบราณใช้ข้าวโม่ คุณกิติภูมิ ดวงทิพย์ หัวหน้าห้องเครื่องหวานวังสวนจิตรลดา เล่าถึงการทำลอดช่องไทยแบบโบราณว่า เริ่มจากการแช่ข้าวสารกับน้ำปูนใสแก่ ๆ ไว้ข้ามคืน แล้วนำไปโม่พร้อมใบเตย
แล้วจึงนำไปกวนและโรยตัวขนมตัวลอดช่องที่สวยนั้น ควรมีลักษณะ หัวเรียวท้ายเรียว วิธีทำเส้นลอดช่อง และป่องกลาง ซึ่งจะทำได้โดยการกวนแป้งให้เหนียวได้ที่ กล่าวคือ เมื่อตักแป้งลงบนกระบอกบีบลอดช่องแล้ว แป้งลอดช่องจะค้างอยู่มีบางส่วนค่อย ๆ หยดลง ไม่ไหลลงเป็นสาย แป้งเหลวไป และวิธีกดตัวลอดช่อง
ต้องกดแล้วคลาย ไม่กดรวดเดียว เพราะจะทำให้ได้ตัวลอดช่องเป็นเส้นยาว ทั้งนี้ช่องว่างระหว่างหน้าแว่นของกระบอกลอดช่องและผิวน้ำด้านล่างควรห่างกันพอให้แป้งขาดหยดลงได้ หากช่องว่างน้อย หน้าแว่นชิดผิวน้ำเกินไป เมื่อกดแป้งแป้งยังไม่ขาดจะไหลต่อกันเป็นสายยาว ผิดลักษณะที่ควรเป็นใบเตย
หอม แก่ สด เตยหอมใบบางมันเงา สีเขียวอ่อนมีหนามเล็กน้อย ดมดูมีกลิ่นหอมโดยไม่ต้องขยี้ ต่างจากเตยธรรมดาที่ใบยาวใหญ่ ที่ขอบใบเรียบไร้หนาม สีเขียวเข้ม เนื่องจากเตยหอมมีสีเขียวอ่อน จึงควรเลือกใช้ใบที่แก่จัดเพื่อให้ได้ลอดช่องสีสวย ทั้งนี้ลอดช่องตามต่างจังหวัดนิยมทำสองสีได้แก่ สีเขียวและสีขาว ไม่ใส่ใบเตย
ลอดช่องไทย ลอดช่องสิงคโปร์ คืออะไรทำไมต้องมี2อย่าง และแตกต่างกันตรงไหน
ลอดช่องไทย คือขนมหวานอันสุดยอดของไทยที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ แต่ก็มีขายกันทั่วไปใน พม่า หรือ มาเลเซียเหมือนกันแต่ที่เจ๋งกว่านั้นคือปี 2504 พึ่ง 50 กว่าปี เกิดนวัตกรรมใหม่ในวงการลอดช่อง นั่นก็คือ ลอดช่องสิงคโปร์ลอดช่องสิงค์โปร์
ไม่ใช่ของสิงค์โปร์แต่เป็นของคนไทยลอดช่องสิงคโปร์เริ่มขายที่ไทยครั้งแรกในร้านชื่อ สิงคโปร์โภชนา เพราะทำเลร้านนี่อยู่หน้าโรงภาพยนต์สิงคโปร์ หรือ โรงหนังเฉลิมบุรีในเยาวราช คงเพราะว่ามันอร่อยเกินห้ามใจคนไทยหลายคนจนอด ก๊อปปี้
ไม่ได้หลังจากนั้นก็เกิดการแพร่พันธุ์ของไวรัสลอดช่องสิงคโปร์ขึ้น จนสุดท้ายก็ขายทั้งประเทศรู้สึก ภูมิใจ ลอดช่องน้ำกะทิ กับลอดช่องสิงคโปร์มากๆๆ เพราะมันเป็นขนมหวานที่คนไทยทำเอง คิดค้นเอง คนไทยนี่แหละทำเองกับมือ แต่ชื่อแปลกๆไปหน่อยเท่านั้นเอง
ลอดช่องไทยใช้วัตถุดิบหลักคือ แป้งข้าวเจ้า บางสำนักผสมแป้งท้าวยายม่อมเข้าไปด้วยแต่ลอดช่องสิงคโปร์ใช้แป้งคนละชนิดกันนั่นคือ แป้งมันสำปะหลังส่วนวิธีการทำนั่นก็ต่างกันอย่างสิ้นเชิงส่วนรสชาติทุกคนคงทราบดีว่า ลอดช่องสิงคโปร์มันเหนียวๆหนึบๆคืออร่อย ชอบบ
ใครอยากได้สูตรเซิจ อากู๋ดูนะ มีเต็มเลยก็สมัยนี้มันยุคไอโฟน พ่อค้าแม่ค้าคิดอะไรสะดวกเกินไป ใส่ของที่ผู้บริโภคไม่ควรกินเพราะมันถูกและง่ายจะขอเตือนว่า บางร้านใส่สีสังเคราะห์สีเขียว ใส่กลิ่นใบเตยสังเคราะห์ หรือ กลิ่นมะลิอะไรก็ตาม ไม่สนับสนุนชอบของธรรมชาติที่ใส่ใบเตย ใช้น้ำตาล หรือน้ำตาลมะพร้าว มันเจ๋งกว่าตั้งเยอะแถมสุขภาพดี
วิธีการทำลอดช่อง สูตรชาววัง ที่ได้กินแล้วจะติดใจ และสามารถทำขายได้
ลอดช่องไทย เป็นขนมหวานที่เป็นเอกลักษณ์ของไทยมานาน ด้วยอากาศประเทศไทยเป็นประเทศที่มีอากาศร้อน จึงมีขนมหวานอย่าง ลอดช่องไทย เป็นขนมที่ช่วยคลายร้อนได้เป็นอย่างดี ให้ความรู้สึกสดชื่น ด้วยการรับประทาน ลอดช่องกะทิสด ควบคู่กับน้ำแข็ง พร้อมความหอมมันของน้ำกะทิ
และรสสัมผัสที่หนึบหนับของตัว ลอดช่อง ที่มีกลิ่นหอมของใบเตย ทำให้ขนมหวานอย่าง ลอดช่องไทย เป็นขนมที่ยอดฮิตไปทั่วประเทศที่รับประทานได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ และวันนี้ร้าน จะนำสูตรการทำ ลอดช่องไทย สูตรโบราณ มานำเสนอให้ทุกคนได้ลองไปทำรับประทานเพื่อดับร้อนกันบ้าง
ส่วนผสม ลอดช่องไทย สูตรโบราณ. แป้งข้าวจ้าว 3 ถ้วยตวง (1 ถ้วยตวง เท่ากับ 200-250 ml.) แป้งมันสำปะหลัง 1 ถ้วยตวง แป้งถั่วเขียว 4 ช้อนโต๊ะ น้ำปูนใส 5 ถ้วยตวง ใบเตย 10 ใบ นำใบเตยมาคั้นให้ได้น้ำใบเตยข้นๆ 1 ถ้วยตวง ส่วนผสม น้ำกะทิ น้ำตาลปี๊บ 3 1/2 ถ้วยตวง เกลือป่น 1 ช้อนชา
กะทิ 5 ถ้วยตวง ขั้นตอนการทำ ลอดช่องไทย สูตรโบราณ 1. นำแป้งข้าวจ้าว แป้งมันสำปะหลัง แป้งถั่วเขียว มาใส่กะละมังขนาดเล็ก แล้วใส่น้ำใบเตยที่คั้นไว้ลงไปทีละนิดแล้วนวดแป้งไปด้วย สลับกับใส่น้ำปูนใสลงไปแล้วนวดแป้งไปด้วย ใส่น้ำใบเตยสลับกับน้ำปูนใสพร้อมกับนวดแป้งแบบนี้ไปเรื่อยๆ
ซึ่งขั้นตอนนี้ต้องใจเย็นๆ ในการใส่น้ำใบเตย และน้ำปูนใสสลับกันไป พร้อมๆ กับการละลายไป กับแป้งจนหมด เพื่อให้แป้งมีความเนียนและเข้ากันดี 2. ใช้ผ้าขาวบางมากรองแป้งที่นวดจนเนียนแล้วอีกครั้ง 3. นำกระทะทองเหลือง หรือ หม้อ มาตั้งบนเตาไฟอ่อนๆ แล้วเอาแป้งที่ละลายไว้แล้วมาเทใส่
แล้วกวนแป้งไปเรื่อยๆจนแป้งเหนียวข้นเข้ากันดีแล้ว แต่อย่าให้แป้งมีลักษณะแห้งหรือเหลวจนเกินไป 4. นำหม้อใบใหญ่หน่อยใส่น้ำเย็นจัดลงไปค่อนหม้อ แล้วเตรียมภาชนะทำเป็นแม่พิมพ์ตัวลอดช่อง อาจจะใช้หม้อเก่าๆที่ไม่ได้ใช้แล้วเจาะรู หรือจะใช้กระชอนก็ได้ หรือหาซื้อ ที่กดลอดช่อง ได้ตามเว็บไซต์ต่างๆก็มี